• อาทิตย์. ก.ย. 8th, 2024

การดำเนินคดีในกลุ่มประชาชนต่อสถานประกอบการที่เกิดการบังคับตรวจหาเชื้อโควิด-19 ด้วยวิธี ATK/PT-PCR

โรคโควิด-19 ถือว่าเป็นโรคอุบัติใหม่ โดยมีการพบครั้งแรกในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน จากนั้นได้มีการแพร่ระบาดไปทั่วโลกตั้งแต่ปี พ.ศ.2562 จนถึงปัจจุบัน ท้ายที่สุดองค์กรอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดใหญ่ครั้งนี้เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขทั่วโลก

จะเห็นได้ว่าในช่วงต้นของการระบาดของโรคโควิด-19 รัฐบาลทั่วโลกมีท่าทีที่รับมือได้เป็นอย่างดี แต่ด้วยที่ธรรมชาติของโรคนี้ติดต่อได้ง่ายจากคนสู่คน ผ่านทางละอองน้ำมูก น้ำลายจากจมูก หรือปาก หรือแม้แต่การสัมผัสวัตถุต่างๆ ที่มีละอองฝอยเหล่านี้แฝงอยู่ ก็สามารถที่จะติดการแพร่เชื้อได้ง่าย

ไม่ว่ารัฐบาลต่างๆ ทั่วโลกหรือแม้แต่รัฐบาลไทยจะพยายามที่จะออกมาตรการอะไรก็ตามที่จะหยุดการแพร่ระบาดในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นการ Lockdown, work from home, การฉีดวัคซีนฯ ก็ไม่สามารถที่จะหยุดยั้งการแพร่ระบาดในครั้งนี้ได้ หลายครั้งต่อหลายครั้งเหมือนสถานการณ์กำลังไปในทิศทางที่ดี ก็จะเกิดเหตุการณ์การแพร่กระจายแบบกลุ่มขึ้นมา ทำให้เหตุการณ์การควบคุมโรคของรัฐบาลต่างๆ ทั่วโลกไม่มีท่าทีที่ดีขึ้น

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดที่ไม่มีแนวโน้มจะหยุดได้ในเร็ววัน ส่งผลต่อความเสียหายในระบบเศรษฐกิจได้ไปยังวงกว้าง การหยุดดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่สามารถที่จะหยุดได้เป็นเวลานาน ส่งผลให้สถานประกอบการต่างๆ หรือหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานอื่นๆ ไม่สามารถที่จะปิดไปอย่างถาวรได้ จึงได้ออกมาตรการใหม่เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ หนึ่งในมาตรการที่ได้รับความนิยมคือ “การ swab ด้วยวิธี ATK หรือ PT-PCR” ก่อนการเข้ารับใช้บริการตามสถานที่ต่างๆ

วิธีการ swab เป็นที่นิยมมากในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นสถานประกอบการร้านอาหาร, ไนต์คลับ, หน่วยงานราชการ, ธุรกิจการบิน เป็นต้น หน่วยงานเหล่านี้ได้รับการตอบรับได้เป็นอย่างดี เพราะให้ความมั่นใจในความปลอดภัยของผู้ที่เข้ามาใช้บริการ

แต่หารู้ไม่ว่าการ swab ไม่ว่าจะด้วยวิธีการ ATK หรือ PT-PCR ล้วนแล้วอันตรายต่อสุขภาพของผู้ได้รับการ swab เพราะอุปกรณ์ swab ต้องผ่านการฆ่าเชื้อด้วยสาร Ethylene Oxide ซึ่งถ้าในร่างกายมนุษย์ได้รับสารนี้มากเกินไปจะส่งผลให้เกิดโรคมะเร็งได้หากได้รับในปริมาณมาก

ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการฟ้องร้องจำนวนคดีที่เพิ่มขึ้นในปลายปี 2563 จากผู้เข้ารับการ swab ที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพของพวกของพวกเขาอันเนื่องมาจากนโยบายการจัดการที่ไม่ดีที่กำลังเพิ่มทวีความรุนแรงขึ้นในทุกวัน

ในปี พ.ศ. 2565 ข้อกังวลด้านคดีความจากผู้ที่ได้รับกระทบจากการ swab ได้เพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ เนื่องจากพนักงานและลูกค้าของสถานที่ที่บังคับให้ทำการทดสอบด้วย Antigen Test Kit (ATK) หรือ Polymerase chain reaction (PT- PCR) เริ่มตระหนักถึงอันตรายที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบ swab อย่างสม่ำเสมอ คดีที่อ้างถึงความผิดเช่น “การทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา” ซึ่งกำลังเป็นที่ชัดเจนมากขึ้นในกรณีที่มีการทดสอบด้วย ATK หรือ PT- PCR ที่ไม่ดี ทำให้ผู้ที่เข้ารับการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ด้วยวิธีการ swab นั้นอันตรายถึงชีวิต

น่าเสียดายที่เรื่องราวเหล่านี้เป็นเรื่องธรรมดามากเกินไป อย่างไรก็ตามมีความกังวลมากขึ้นเรื่อยๆ ว่าการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ที่กำลังดำเนินอยู่นี้ไม่เพียงแต่ส่งผลเสียร้ายแรงต่อคนเพียงบางกลุ่มเท่านั้น แต่ยังส่งผลเสียต่อสุขภาพของทุกๆ คนที่เข้ารับการตรวจหาเชื้ออีกด้วย

ยกตัวอย่างบางคำพูดผ่านการแปลข้อความภาษาอังกฤษของ (ดร.หยาง แห่งโรงพยาบาลเซนต์เทเรซา) โดยมีประเด็นที่น่าสนใจดังนี้

ผลข้างเคียงจากการ swab จมูกอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของมะเร็งสมอง และจะเกิดความเสียหายของสมองที่ชัดเจนเมื่อเวลาผ่านไป เพราะเนื่องจากการใช้เอทิลีนออกไซด์เป็นสารฆ่าเชื้อซึ่งมีลักษณะที่เป็นพิษสูงที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้

อีกหนึ่งประเด็นในเรื่องของสารเอทิลีนออกไซด์และการใช้งานที่มีการโต้เถียง ในเรื่องของสารฆ่าเชื้อที่ใช้กับสำลีทดสอบ PT-PCR และ ATK ซึ่งเป็นอันตรายต่อมนุษย์อย่างมาก เว็บไซต์ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติสหรัฐอเมริการะบุว่า:

ความสามารถของเอทิลีนออกไซด์ซึ่งเป็นสารฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพ แต่ยังแสดงถึงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดมะเร็งด้วย มะเร็งที่พบบ่อยได้แก่มะเร็งต่อมน้ำเหลืองและมะเร็งเม็ดเลือดขาวซึ่งเป็นมะเร็งที่เกี่ยวข้องกับการได้รับเอทิลีนออกไซด์ อีกทั้งยังมีการพบมะเร็งกระเพาะอาหารและมะเร็งเต้านมที่อาจสัมพันธ์กับการได้รับเอทิลีออกไซด์อีกด้วย

(EPA) ซึ่งเป็นหน่วยงานปกป้องสิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกา ต่างจัดประเภทเอทิลีนออกไซด์เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ที่เป็นพิษ มีหลักฐานจำนวนมากแสดงให้เห็นว่าการได้รับเอทิลีนออกไซด์โดยการหายใจเข้าไปจะเพิ่มความเสี่ยงของมะเร็งต่อมน้ำเหลืองและมะเร็งเม็ดเลือดขาว สำหรับผู้หญิงก็สามารถทำให้เกิดมะเร็งเต้านมได้ เอทิลีนออกไซด์ยังเป็นสารก่อกลายพันธุ์ ซึ่งหมายความว่าสามารถทำลาย DNA ในเซลล์ได้ และในเด็กเล็กจะอ่อนไหวต่อผลร้ายของสารก่อกลายพันธุ์นี้

ไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบของผู้เข้ารับการ swab เท่านั้น การสูดดมเอทิลีนออกไซด์ของเจ้าหน้าที่ในระยะเวลานานก็ส่งผลให้เกิดอาการเจ็บป่วยต่างๆ ตามมามากมาย รวมถึงการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจและอาการบาดเจ็บที่ปอด, เช่นอาการปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, ท้องร่วง, ความผิดปกติทางระบบประสาท, หลอดลมอักเสบ, ปอดบวมน้ำ, ถุงลมโป่งพองและตัวเขียว ซึ่งการได้รับสารจากการสูดดมเอทิลีนออกไซด์มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งต่อผู้ที่สูดดม ทั้งนี้ส่งผลต่อการสืบพันธุ์, การเปลี่ยนแปลงของสารก่อกลายพันธุ์, ความเป็นพิษต่อระบบประสาท และการเกิดอาการแพ้

มีหลักฐานบ่งชี้ว่าการสูดดมเอทิลีนออกไซด์ในเพศหญิงอาจทำให้อัตราการแท้งบุตรเพิ่มขึ้น ในส่วนของเพศชายมีการศึกษาถึงขนาดอัณฑะที่ลดลง ตลอดจนส่งผลถึงความเข้มข้นของอสุจิและการเสื่อมของอัณฑะ อีกทั้งยังมีหลักฐานที่บันทึกไว้เป็นอย่างดีว่าเอทิลีนออกไซด์ทำให้เกิดการสูญเสียรสชาติและกลิ่นที่หลายคนต้องทนทุกข์ทรมาน

ความจริงของสารก่อมะเร็งที่เกิดจากการ swab

ในขณะที่แหล่งข้อมูลออนไลน์บางแห่งอาจทำให้คุณเชื่อว่ามีเอทิลีนออกไซด์ที่เป็นพิษในปริมาณเล็กน้อย ในการswab แต่ละครั้ง แต่อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์ซ้ำจากแหล่งต่างๆ ที่แตกต่างกันแสดงให้เห็นผลลัพธ์เดียวกันของการมีอยู่ของสารเอทิลีนออกไซด์นั้นได้สร้างความเสียหายต่อ DNA ไม่ว่าจะปริมาณที่มากหรือน้อย หากได้รับการสะสมของเอทิลีนออกไซด์ ล้วนแล้วแต่เกิดอันตรายให้กับร่างกายโดยทั้งสิ้น

การเรียกร้องสิทธิสำหรับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการ swab เพื่อตรวจหาเชื้อโควิด-19

ไม่ว่าคุณจะเป็นลูกค้าหรือพนักงานของสถานที่ที่มีการบังคับด้วยการ swab หลังจากถูกบังคับให้ทำการทดสอบด้วยวิธี ATK หรือ PT-PCR ในช่องปากหรือโพรงจมูกก็ตาม และคุณได้รับผลกระทบต่อสุขภาพของคุณ เจ้าของกิจการหรือตัวบุคคลที่ทำการ swab ให้แก่คุณจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองที่ทำให้คุณได้รับการบาดเจ็บหรือผลกระทบด้านสุขภาพอื่นๆ จากการ swab

ผลกระทบจากการได้รับสารเอทิลีนออกไซด์:

  • สูญเสียรสชาติหรือกลิ่น
  • ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ
  • ปวดศีรษะ
  • ไมเกรน
  • คลื่นไส้
  • อาเจียน
  • ท้องเสีย
  • ความผิดปกติทางระบบประสาท (ความจำเสื่อม, อาการวิงเวียนศีรษะ, โรคอัลไซเมอร์)
  • มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
  • มะเร็งเม็ดเลือดขาว
  • มะเร็งไขกระดูก
  • มะเร็งไขกระดูก
  • มะเร็งเต้านม
  • หลอดลมอักเสบ
  • ปอดบวมน้ำ
  • เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
  • ตัวเขียว
  • การแท้งบุตร
  • มะเร็งลูกอัณฑะ
  • ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้

ทั้งนี้การดำเนินการของทีมงานของเรากำลังติดต่อกับทีมทนายความในประเทศออสเตรเลียและในประเทศไทยที่กำลังรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ที่บังคับให้ทำการทดสอบด้วย ATK/PT-PCR เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการดำเนินคดีการฟ้องร้อง ATK จำนวนมากของประชาชนต่อสถานบันเทิงและไนต์คลับทั้งในประเทศไทยและออสเตรเลีย เรายังทราบถึงคดีฟ้องร้องอื่นๆ อีกหลายคดีที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศอื่นๆ อีกหลายแห่ง

หากคุณได้รับผลกระทบจากการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ด้วยวิธี ATK หรือ PT-PCR โปรดเก็บรวบรวมข้อมูลหลักฐานของคุณและติดต่อกับทีมงานของเรา เพื่อให้เราสามารถติดต่อกับตัวแทนทางกฎหมายในท้องที่ที่สามารถช่วยให้คุณได้รับการชดเชยในครั้งนี้

ทีมงานของเรามีความหวังว่าเมื่อสถานการณ์นี้ถูกเผยแพร่ออกไป และความรู้เกี่ยวกับคดีฟ้องร้องของประชาชนเป็นที่รู้จักมากขึ้น สถานประกอบการขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ก็ตามก็จะยกเลิกการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ด้วยวิธีการ swabในที่สุด

คุณจะสามารถช่วยเหลือบุคคลอื่นได้อย่างไร?

หากคุณรู้จักใครก็ตามที่ได้รับผลกระทบจากการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ไม่ว่าจะด้วยวิธี Antigen Test Kit (ATK) หรือ Polymerase chain reaction (PT-PCR) โปรดติดต่อทีมงานของเรา และแบ่งปันข้อมูลนี้กับผู้อื่น ทีมงานของเราเชื่อว่าหากผู้คนจำนวนมากขึ้นได้ทราบเกี่ยวกับอันตรายถึงความเป็นพิษของเอทิลีนออกไซด์ (EO) ที่มาจากการ swab สถานประกอบการต่างๆ จะไม่บังคับให้ใช้สารพิษที่สร้างความเสียหายต่อ DNA เหล่านี้ไปสู่บุคคลอื่น

เป้าหมายสูงสุดของเราคือหยุดการใช้สารพิษที่สร้างความเสียหายของประชาชนในวงกว้าง หากสถานที่ประกอบการใดไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับในการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ก่อนเข้าไปใช้บริการ สถานที่ประกอบการเหล่านั้นก็จะถูกถอดออกจากการดำเนินคดีนี้ และทีมงานของเราจะมุ่งให้ความสนใจไปที่สถานที่ที่ยังมีการบังคับ swab ต่อไป

คุณถูกบังคับให้ทำการ swab หรือไม่?

หากคุณต้องการเข้าร่วมในคดีฟ้องร้องแบบกลุ่ม หรือหากคุณได้รับผลกระทบที่รุนแรงและคุณต้องการดำเนินคดีด้วยตัวเอง การเก็บรวบรวมหลักฐานให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ถือเป็นสิ่งสำคัญ เช่นจดชื่อผลิตภัณฑ์ชุดทดสอบที่ใช้, ถ่ายรูปถ้าทำได้ ทั้งด้านหน้าและด้านหลังของกล่อง, จดชื่อสถานที่, จดชื่อเจ้าหน้าที่ที่ดำเนินการ วัน เวลา และข้อมูลอื่น ๆ

หากคุณได้รับผลข้างเคียงที่ส่งผลต่อสุขภาพของคน ในหนึ่งครั้งหรือหลายครั้งก็ตาม คุณมีสิทธิที่จะเรียกร้องค่าชดเชยสำหรับการกระทำที่เป็นอันตรายในครั้งนี้

สุดท้ายนี้เราหวังว่าบทความของเราจะเป็นประโยชน์ให้แก่ทุกๆ ท่าน และส่งเสริมให้กับประชาชนได้ทราบถึงข้อควรระวังเกี่ยวกับอันตรายของการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ด้วยวิธีการ swab ทีมงานของเราหวังว่าท่านจะได้นำความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์ต่อตัวท่านเองและคนรอบข้างเพื่อให้มีความระมัดระวังการใช้ชีวิตให้มากขึ้น

 

เรื่องที่คุณห้ามพลาด!